RISS 학술연구정보서비스

검색
다국어 입력

http://chineseinput.net/에서 pinyin(병음)방식으로 중국어를 변환할 수 있습니다.

변환된 중국어를 복사하여 사용하시면 됩니다.

예시)
  • 中文 을 입력하시려면 zhongwen을 입력하시고 space를누르시면됩니다.
  • 北京 을 입력하시려면 beijing을 입력하시고 space를 누르시면 됩니다.
닫기
    인기검색어 순위 펼치기

    RISS 인기검색어

      KCI등재

      Telling about Rangsit: Meaning-making of Community and Its Construction of Oral History

      한글로보기

      https://www.riss.kr/link?id=A106586545

      • 0

        상세조회
      • 0

        다운로드
      서지정보 열기
      • 내보내기
      • 내책장담기
      • 공유하기
      • 오류접수

      부가정보

      다국어 초록 (Multilingual Abstract)

      This paper aimed at studying the meaning-making of community and the local development, particularly the Rangsit canal area by using oral history and narrative analysis as its framework. Document and oral interview data from local 52 people, who have ...

      This paper aimed at studying the meaning-making of community and the local development, particularly the Rangsit canal area by using oral history and narrative analysis as its framework. Document and oral interview data from local 52 people, who have lived in Rangsit area for more than 30 years, were collected.
      The result showed that local history of Rangsit area can be devided into 3 periods; the period of Thung Luang, the Rangsit Canal Project, and the Roads construction. The meaning-making of Rangsit community in People narratives revealed Rangsit area as Breadbasket and hybrid community. Also, it can be interpreted as shared memories, particularly positive memories. This paper argued that Rangsit is not only being made sense of local history, but also the sense of deconstruction and reconstruction is negotiated by the living people from generations to generations. This made Rangsit as dynamic area which considerably to be further studied.

      더보기

      다국어 초록 (Multilingual Abstract)

      บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาความหมายของชุมชนและการเปลี่ยนแปลงของท้องถิ่นร...

      บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาความหมายของชุมชนและการเปลี่ยนแปลงของท้องถิ่นรังสิต โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คลองรังสิต โดยอาศัยแนวคิดด้านประวัติศาสตร์บอกเล่าและแนวทางการวิเคราะห์เรื่องเล่าเป็นกรอบในการศึกษาวิจัย ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้มาจากข้อมูลเอกสารและข้อมูลจากการสัมภาษณ์ในลักษณะการบอกเล่าเรื่องราวของคนในพื้นที่ที่มีภูมิลำเนาอยู่ในรังสิตมากกว่า 30 ปีขึ้นไป จำนวน 52 คน ผลการศึกษาพบว่า จากเรื่องเล่าเกี่ยวกับรังสิตทำให้เห็นประวัติศาสตร์ของชุมชนคลองรังสิตที่มีพัฒนาการแบ่งออกได้เป็น 3 ช่วงเวลา ได้แก่ ช่วงทุ่งหลวง ช่วงขุดคลองรังสิตและช่วงพัฒนาถนน ส่วนการสร้างความหมายของชุมชนจากคำบอกเล่าของคนรังสิต สื่อ ให้เห็นว่ารังสิตเป็นแหล่งอู่ข้าวอู่น้ำและชุมชนลูกผสม เป็นแหล่งความทรงจำร่วมของชุมชนที่ส่วนใหญ่เป็นความทรงจำที่ดีที่คนในพื้นที่ต้องการธำรงไว้และส่งต่อไปให้คนรุ่นต่อไปบทความนี้ยังชี้ให้เห็นว่าท้องถิ่นรังสิตมิได้เป็นเพียงพื้นที่ทางประวัติศาสตร์เท่านั้นแต่ยังเป็นพื้นที่ทางความหมายที่ถูกรื้อและสร้างใหม่ มีความเป็นพลวัตและมีแง่มุมที่น่าศึกษาวิจัยต่อไป

      더보기

      참고문헌 (Reference)

      1 วรนารถ แก้วคีรี, "โรคระบาดในชุมชนภาคกลางของไทย พ.ศ. 2440-2475: การศึกษาเชิงประวัติศาสตร์" จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1992

      2 พิพัฒน์ กระแจะจันทร์, "โจร โรคระบาด ชีวิตชาวนา และการจัดระบบ ชลประทานในทุ่งรังสิต สมัยรัชกาลที่ 5" 33 (33): 142-157, 2011

      3 จินตนา ประชุมพันธ์, ณัฐฐินันท์ นันทสิงห์ และ พรพินันท์ จันทอุดม, "เล่าขาน ตำนานเชียงรากจากสมัยอยุธยาสู่ประตูธรรมศาสตร์. โครงการรังสิต-เชียงราก: เรื่อ ง ส า มัญ ป ร ะ จำ บ้า น" ค ณ ะ ศิล ป ศ า ส ต ร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2013

      4 ทองคำ พันนัทธี, "เมืองสามโคก" 24 (24): 1985

      5 ฉลอง สุนทราวาณิชย์ และคณะ, "ร้อยปีคลองรังสิต" โครงการวิจัยนำ ร่องเฉลิมฉลองวโรกาสกาญจนาภิเษก สถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. 1994

      6 วลัยลักษณ์ ทรงศิริ, "พัฒนาการของการปรับเปลี่ยนสภาพภูมิศาสตร์ในเขต สามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา, มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์"

      7 ทองคำ พันนัทธี, "พบเมืองโบราณที่ทุ่งพญาเมือง." 23 (23): 1984

      8 สุมาลี บำรุงสุข และ สุกัญญา บำรุงสุข, "ประวัติศาสตร์บอกเล่ากับการเรียนการ สอนวิชาประวัติศาสตร์" 6 (6): 75-87, 1993

      9 กองพุทธศาสนสถาน, "ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร, เล่ม 2" กองพุทธ ศาสนสถาน 1982

      10 สุนทรี อาสะไวย์, "ประวัติคลองรังสิต: การพัฒนาที่ดินและผลกระทบต่อสังคม พ.ศ. 2431-2457" มูลนิธิโครงการตำ ราสังคมศาสตร์และ มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 1987

      1 วรนารถ แก้วคีรี, "โรคระบาดในชุมชนภาคกลางของไทย พ.ศ. 2440-2475: การศึกษาเชิงประวัติศาสตร์" จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1992

      2 พิพัฒน์ กระแจะจันทร์, "โจร โรคระบาด ชีวิตชาวนา และการจัดระบบ ชลประทานในทุ่งรังสิต สมัยรัชกาลที่ 5" 33 (33): 142-157, 2011

      3 จินตนา ประชุมพันธ์, ณัฐฐินันท์ นันทสิงห์ และ พรพินันท์ จันทอุดม, "เล่าขาน ตำนานเชียงรากจากสมัยอยุธยาสู่ประตูธรรมศาสตร์. โครงการรังสิต-เชียงราก: เรื่อ ง ส า มัญ ป ร ะ จำ บ้า น" ค ณ ะ ศิล ป ศ า ส ต ร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2013

      4 ทองคำ พันนัทธี, "เมืองสามโคก" 24 (24): 1985

      5 ฉลอง สุนทราวาณิชย์ และคณะ, "ร้อยปีคลองรังสิต" โครงการวิจัยนำ ร่องเฉลิมฉลองวโรกาสกาญจนาภิเษก สถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. 1994

      6 วลัยลักษณ์ ทรงศิริ, "พัฒนาการของการปรับเปลี่ยนสภาพภูมิศาสตร์ในเขต สามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา, มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์"

      7 ทองคำ พันนัทธี, "พบเมืองโบราณที่ทุ่งพญาเมือง." 23 (23): 1984

      8 สุมาลี บำรุงสุข และ สุกัญญา บำรุงสุข, "ประวัติศาสตร์บอกเล่ากับการเรียนการ สอนวิชาประวัติศาสตร์" 6 (6): 75-87, 1993

      9 กองพุทธศาสนสถาน, "ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร, เล่ม 2" กองพุทธ ศาสนสถาน 1982

      10 สุนทรี อาสะไวย์, "ประวัติคลองรังสิต: การพัฒนาที่ดินและผลกระทบต่อสังคม พ.ศ. 2431-2457" มูลนิธิโครงการตำ ราสังคมศาสตร์และ มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 1987

      11 เท ศ บ า ล น ค ร รัง สิต ., "ป ร ะ วัติโก ฮับ . สืบ ค้น จ า ก"

      12 สุนทรี อาสะไวย์, "บทบาทของรัฐบาลและเอกชนในการพัฒนา: พิจารณาเฉพาะ กรณีประวัติ โครงการรังสิต พ.ศ. 2431 ถึง พ.ศ. 2457" สถาบัน ไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 1788

      13 วลัยลักษณ์ ทรงศิริ, "ทุ่งพญาเมืองที่สามโคก, มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะ พันธุ์"

      14 วีรวัฒน์ วงศ์ศุปไทย, "ชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทยสมัยอยุธยาที่บ้านเก่าบาง กระบือ. ความรู้คือประทีป (ตุลาคม-ธันวาคม)"

      15 ปิยนาถ บุนนาค, "คลองในกรุงเทพฯ: ความเป็นมา การเปลี่ยนแปลงและ ผลกระทบต่อกรุงเทพฯ ในรอบ 200 ปี" โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย 1982

      16 นนทพร อยู่มั่งมี, "คดีความในทุ่งรังสิต พ.ศ. 2433 – 2457" จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย 2004

      17 สุจิตต์ วงษ์เทศ. (บรรณาธิการ), "กำสรวลสมุทรหรือกำสรวลศรีปราชญ์ เป็นพระ ราชนิพนธ์ยุคต้นกรุงศรีอยุธยา" มติชน 2006

      18 พ.ณ ประมวลมารค, "กำสรวลศรีปราชญ์-นิราศนรินทร์ (พิมพ์ครั้งที่ 3)" แพร่พิทยา 1972

      19 บุษยมาส สินธุประมา, "การศึกษาสถานภาพร้านก๋วยเตี๋ยวเรือตามแนวคลองรังสิต" สำนักวิชาการ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย 2001

      20 จันทิมา อังคพณิชกิจ, "การวิเคราะห์ข้อความ (Discourse Analysis). (พิมพ์ครั้ง ที่ 2 แก้ไขปรับปรุง)" สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2018

      21 สุนทรี อาสะไวย์, "การพัฒนาระบบชลประทานในประเทศไทยตั้งแต่ พ.ศ. 2431 ถึง พ.ศ. 2493" จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) 1888

      22 ทวีศิลป์ สืบวัฒนะ, "การผลิตและการค้าข้าวในภาคกลาง ตั้งแต่รัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 จนถึงรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 7 (พ.ศ. 2411-2475)" จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1978

      23 Blanchard, G., "Writing Your Family History" Pen & Sword 2014

      24 Beckett, J., "Writing Local History" Manchester University Press 2007

      25 Wertsch, J. V., "Voices of Collective Remembering" Cambridge University Press 2002

      26 Rosen, H, "The Importance of story" 63 (63): 226-237, 1986

      27 Bornat, J., "Oral history as a social movement: reminiscence and older people" 17 (17): 1989

      28 Scollon, R., "Methods in Critical Discourse Analysis" Sage 2001

      29 Bal, M., "Introduction to the Theory of Narrative" University of Toronto 2007

      30 Labov, W., "Essays on the Verbal and Visual Arts" University of Washington Press 12-44, 1967

      31 Bluck, S., "Autobiographical memory: Exploring its functions in everyday life" 11 (11): 113-123, 2003

      32 Gee, J. P., "An Introduction to Discourse Analysis" Routledge 1999

      더보기

      동일학술지(권/호) 다른 논문

      동일학술지 더보기

      더보기

      분석정보

      View

      상세정보조회

      0

      Usage

      원문다운로드

      0

      대출신청

      0

      복사신청

      0

      EDDS신청

      0

      동일 주제 내 활용도 TOP

      더보기

      주제

      연도별 연구동향

      연도별 활용동향

      연관논문

      연구자 네트워크맵

      공동연구자 (7)

      유사연구자 (20) 활용도상위20명

      인용정보 인용지수 설명보기

      학술지 이력

      학술지 이력
      연월일 이력구분 이력상세 등재구분
      2026 평가예정 재인증평가 신청대상 (재인증)
      2020-01-01 평가 등재학술지 유지 (재인증) KCI등재
      2017-01-01 평가 등재학술지 유지 (계속평가) KCI등재
      2013-01-01 평가 등재 1차 FAIL (등재유지) KCI등재
      2010-01-01 평가 등재학술지 선정 (등재후보2차) KCI등재
      2009-01-01 평가 등재후보 1차 PASS (등재후보1차) KCI등재후보
      2007-01-01 평가 등재후보학술지 선정 (신규평가) KCI등재후보
      더보기

      학술지 인용정보

      학술지 인용정보
      기준연도 WOS-KCI 통합IF(2년) KCIF(2년) KCIF(3년)
      2016 0.05 0.05 0.07
      KCIF(4년) KCIF(5년) 중심성지수(3년) 즉시성지수
      0.09 0.08 0.308 0.06
      더보기

      이 자료와 함께 이용한 RISS 자료

      나만을 위한 추천자료

      해외이동버튼