RISS 학술연구정보서비스

검색
다국어 입력

http://chineseinput.net/에서 pinyin(병음)방식으로 중국어를 변환할 수 있습니다.

변환된 중국어를 복사하여 사용하시면 됩니다.

예시)
  • 中文 을 입력하시려면 zhongwen을 입력하시고 space를누르시면됩니다.
  • 北京 을 입력하시려면 beijing을 입력하시고 space를 누르시면 됩니다.
닫기
    인기검색어 순위 펼치기

    RISS 인기검색어

      검색결과 좁혀 보기

      선택해제

      오늘 본 자료

      • 오늘 본 자료가 없습니다.
      더보기
      • 무료
      • 기관 내 무료
      • 유료
      • KCI등재

        ปฏิบัติการทางวัฒนธรรมของมิวเซียมสยามในการสร้างความเป็น ไทยผ่านนิทรรศการชุด “ถอดรหัสไทย”

        แชมุนลี ( Chaemoon Lee ) 한국태국학회 2019 한국태국학회논총 Vol.26 No.1

        National museum represents national identity. Museum Siam is a part of the OKMD (Office of Knowledge Management and Development) business, a Mega Project initiated during the Thaksin’s term in office. The museum was established as the first national discovery museum institute to provide new vision for looking into Thai national identity. This paper studies Thai national identity, Kwham pen thai (Thainess) represented in Museum Siam’s new exhibition, “Decoding Thainess”, which was reopened in December 2017. The primary sources used in this study consist of the main exhibition contents, museum’s brochures, and interviews with curators and museum staff. This study finds that the second main exhibition centers around familiar objects easily seen in contemporary Thai society, as meaningful segments of production of Thainess. It also explores how Thainess can be built and maintained, rather than just representing Thai national identity. This is important because showing the process for creating national identity reveals that Thainess is generally regarded as a fixed, uniform notion, but in fact it has been changing through time.

      • KCI등재

        โครงการสร้างมาตรฐานการเรียนการสอนภาษาไทย ในสาธารณรัฐเกาหลี ภายใต้กฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการเรียน การสอนภาษายุทธศาสตร์ : โอกาสและความท้าทายในอนาคต

        สมชายสาเนียงงาม ( Somchai Sumniengngam ),คึนเฮชิน ( Keunhye Shin ),เกวลินศรีม่วง ( Kewalin Simuang ),แชมุนลี ( Chaemoon Lee ),นริศราไตรบุตร ( Narisara Traiboot ),วิรัชศิริวัฒนะนาวิน ( Wirat Siriwatana 한국태국학회 2022 한국태국학회논총 Vol.28 No.2

        ภาควิชาภาษาไทย มหาวิยาลัยฮันกุ๊กภาษาและกิจการต่างประเทศ ได้รับความไว้วางใจจากรัฐบาลและได้รับการจัดสรรงบประมาณภายใต้กรอบการสนับสนุนของกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการเรียนการสอนภาษายุทธศาสตร์ของรัฐบาลเกาหลี มาตั้งแต่ปี ค.ศ.2018 และได้ดาเนินโครงการต่าง ๆ เกี่ยวกับการสร้างมาตรฐานการเรียนการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศมาอย่างต่อเนื่องจนประสบความสาเร็จอย่างเป็นรูปธรรม บทความนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ผลการดาเนินการภายใต้กรอบการสนับสนุนดังกล่าวในช่วงเวลาดาเนินงานที่ผ่านมา ตลอดจนเพื่อเสนอแนะความท้าทายในอนาคต มาตรฐานการเรียนการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศในสาธารณรัฐเกาหลีที่ภาควิชาภาษาไทย ได้พัฒนาขึ้นในช่วงเวลา 4 ปีที่ผ่านมา ได้แก่ หลักสูตรมาตรฐานภาษาไทย ตารามาตรฐานภาษาไทย ข้อสอบมาตรฐานภาษาไทย และแอปพลิเคชันพจนานุกรม หลักสูตรมาตรฐานภาษาไทยที่พัฒนาขึ้นเพื่อใช้เป็นกรอบในการกาหนดการจัดการศึกษานั้นใช้กรอบอ้างอิงทางภาษาของสหภาพยุโรป (CEFR) แบ่งการจัดการศึกษาออกเป็น 6 ระดับ ได้แก่ A1, A2, B1, B2, C1และ C2 นอกจากนี้หลักสูตรยังได้กาหนดการจัดการศึกษาระดับ A0 เพิ่มขึ้นอีก เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนพื้นฐานเกี่ยวกับตัวอักษรไทยและระบบวรรณยุกต์ก่อนเรียนในระดับ A1 ตารามาตรฐานภาษาไทยที่จัดทาขึ้นมีเนื้อหาทั้งไวยากรณ์ สังคมวัฒนธรรม และคาศัพท์พื้นฐานตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตรมาตรฐานภาษาไทยสาหรับแต่ละระดับ ส่วนข้อสอบมาตรฐานภาษาไทยจัดทาขึ้นอย่างมีเอกภาพและสอดคล้องกับหลักสูตรมาตรฐานภาษาไทย แบ่งเป็น 4 ระดับคือ A1 , A2 , B1 และ B2 นอกจากนี้ยังได้พัฒนาแอปพลิเคชันพจนานุกรมขึ้นเพื่อรวบรวมคาศัพท์ที่ปรากฏในตารามาตรฐานภาษาไทยทั้ง 4 ระดับ โครงการสร้างมาตรฐานการเรียนการสอนภาษาไทยในสาธารณรัฐเกาหลีนี้เป็นความร่วมมือร่วมใจกันระหว่างนักวิชาการชาวเกาหลีและชาวไทยเพื่อสร้างประโยชน์สูงสุดให้แก่การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศในสาธารณรัฐเกาหลี นับเป็นก้าวแรกในการสร้างมาตรฐานให้แก่วงวิชาการและสมควรที่จะได้รับการสนับสนุนอย่างต่อเนื่องทั้งจากรัฐบาลเกาหลีและรัฐบาลไทยในอนาคต In 2018, the Department of Thai at Hankuk University of Foreign Studies was entrusted by the South Korean government and allocated funding support under the Act on the Promotion of Education of Critical Foreign Languages, which aims to promote the teaching and learning of critical foreign languages. Since then, it has piloted several projects that serve to standardize the teaching of Thai as a foreign language and brought the initiative to full fruition. This article analyzes the major contributions of this undertaking and identifies areas of potential challenges for future planning and implementation. For the last four years, the standardization of the teaching of Thai as a foreign language in South Korea spearheaded by the Department of Thai has spanned four areas, including curriculum design, textbook development, establishment of a standard test method, and compilation of a dictionary application. The Thai language curriculum was designed in accordance with the Common European Framework of Reference for Languages (CEFR), which distinguishes six reference levels of proficiency (A1, A2, B1, B2, C2 and C2). In addition, Level A0 has been added to introduce the learner to the Thai alphabet and tone system before advancing to A1. The content of the textbooks presents grammatical concepts, socio-cultural information, and vocabulary that reflect the curricular requirements for each level of proficiency. The proficiency tests were developed that recognize the unity between the tests and level-specific learning outcomes. Administered at 4 levels of proficiency: A1, A2, B1, and B2, each of the level tests is distributed over 3 degrees of difficulty: easy, medium, and difficult. Moreover, compilation of a dictionary application is currently underway that collects the vocabulary introduced in the main textbooks. This jointly collaborated initiative between Korean and Thai scholars has made immense contributions to the teaching of Thai as a foreign language in South Korea. As an innovation in standardizing the teaching and learning of Thai, this pioneering project deserves continuous support from the Korean and Thai governments in the future.

      연관 검색어 추천

      이 검색어로 많이 본 자료

      활용도 높은 자료

      해외이동버튼