RISS 학술연구정보서비스

검색
다국어 입력

http://chineseinput.net/에서 pinyin(병음)방식으로 중국어를 변환할 수 있습니다.

변환된 중국어를 복사하여 사용하시면 됩니다.

예시)
  • 中文 을 입력하시려면 zhongwen을 입력하시고 space를누르시면됩니다.
  • 北京 을 입력하시려면 beijing을 입력하시고 space를 누르시면 됩니다.
닫기
    인기검색어 순위 펼치기

    RISS 인기검색어

      검색결과 좁혀 보기

      선택해제

      오늘 본 자료

      • 오늘 본 자료가 없습니다.
      더보기
      • 태국군의 한국전 참전 경험과 역사 자료의 활용에 대한 연구 : 위키백과 구축을 중심으로

        씨껫 잉언 한국외국어대학교 국제지역대학원 한국학과 2018 국내박사

        RANK : 251679

        The researcher came to think that the historical data of the Thai forces’ participation during the Korean War needs to be properly collected and utilized while participating in the research project, “Research on Data Archiving in Thailand on the Participation of Thai forces in the Korean War’ commissioned by the National Museum of Korean Contemporary History in 2014. To this end, it is essential to investigate where the relevant data is located and which institutions in Thailand own such data. In other words, it was the first priority of the research to collect and organize the data on Thai forces’ participation in the Korean War. Secondly, to make sure the next generation to learn about and commemorate the courage and commitment of the Thai forces, it was essential to turn the data into ‘archiving resources.’ This is because only when it is established as archiving resources, it can be used as resources for various cultural contents. With this regard, the researcher began establishing <Wikipedia Pages on Thai forces’ Participation in the Korean War> and that was the second objective of this research. While studying and investigating the data on Thai forces’s participation in the Korean War scattered in Thailand, the researcher realized those data was in danger of being lost as they were mostly poorly managed and it was not just about the data itself, but more about the existence of the data that was in danger of being lost due to lack of interest and care. Also there was concerns that the time was ticking as the war veterans, the living history of the Korean War, were mostly old age but their experiences were not properly recorded. This indicated that to collect, store and more importantly properly utilize the historic data of Thai forces’s participation in the Korean War, it was required to build archive of the data. Also for the methods of archiving, creating Wikipedia pages was considered. Wikipedia is Wiki contents that are widely opened and shared and the platform of information sharing where anyone interested can have access and freely participate. This means whenever the new information and data are identified, new page can be created and be added on the existing Wikipedia on the Korean War. Also it is easy to make link to other information. This is how Wikipedia archive is created and works. During the Korean War, the government of Thailand sent the Navy, Air Forces and medical corps, as well as the army, upon the request of UN. So the data related to their participation in the Korean War is widely scattered across multiple organizations including the Army, Air Force, Nave offices and the National Archives of Thailand. Among those, the researcher could access the Directorate of administrative services under the Royal Thai Air Force, Naval Education Department –Navy History and the Korean War Museum. Among the data the researcher investigated, the data at the Naval Education Department –Navy History was stored in the best conditions and easy to find. For this reason, the researcher introduced the data in details and was able to study the status of the data focusing on the Navy. Most of the data in the Korean War Museum, located in the 21st Infantry Regiment, Queen's Guard of the Royal Thai Army in Chonburi province, focused on the relics and photos of the past, instead of documents. The researcher also collected the data of verbal interview with 4 Korean War veterans while conducting the “Verbal Interview Recording of Korean War Veterans in Thailand.” As the starter of Wikipedia creation on Thai forces’s participating in the Korean War, along with the formation of the contents, the researcher outlined ① Wiki Storytelling and ② Tour around the organizations related to the Korean War (3D VR contents). First, the theme of Wiki Storytelling is about the Battle of Pork Chop Hill January 1952, where Thai forces fought courageously and the story of Chaveng Youngcharoen, one of the war veterans interviewed for the verbal data. 3D video contents creation was to show the data in the National Archives of Thailand, National Memorial, Directorate of administrative services under the Royal Thai Air Force , the Korean War Veterans Village in Thailand and the Korean War Museum in Chonburi. The contents were designed to more vividly show where how the records of the Korean War participation were stored in these organizations, as if the viewers actually visited the places and looked around the display. The data on Thailand‘s participation in the Korea War studied in this research has its limitation as they are mostly focused on the data of the Air Force and the Navy. This was because the access to other data was denied and also there is no system in place to easily review relevant data. In case of the data on the Air Force, the researcher volunteered to develop the list and it seems that extensive research and data building is required, led by the Korean government institutions, including the National Museum of Korean Contemporary History in cooperation of the relevant institutions in Thailand. Wikipedia on Thai forces’s participation in the Korean War, established by the researcher is now written in Korean but it is required to develop the page in Thai language, too. The year 2018 marks the 60th anniversary of the diplomatic ties between Korea and Thailand. As the title of the book 『The eternal partnership : Thailand and Korea - a history of the participation of the Thai forces in the Korean war -』 published by the Institute for Military History under the Minister of National Defence symbolizes, for continuous partnership and further development of the relationships, it is essential to create diverse cultural contents, inspired by the stories in various topics connecting the two countries. The researcher sincerely hope that the historic data showing the solid alliance between the two countries, even 8 years earlier than the official diplomatic ties, would be developed into archival resources and actively utilized. ผู้วิจัยมีโอกาสเข้าร่วมโครงการงานวิจัยเรื่อง “การเก็บข้อมูลในประเทศไทยเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของ กองทัพไทยในสงครามเกาหลี” ในปี 2014 โดยงานวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนจากพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ร่วมสมัยแห่งชาติแห่งสาธารณรัฐเกาหลี ในระหว่างนั้นผู้วิจัย ได้เห็นความสำคัญและตระหนักถึงเรื่องการจัดเก็บและประมวลข้อมูลอันมีค่าอย่างยิ่งยวดทางประวัติศาสตร์ในช่วงเวลาที่ประเทศไทยได้ส่งกองกำลังทหารเข้าร่วมรบในสงครามเกาหลีผู้วิจัยมีความเห็นว่าข้อมูลอันทรงคุณค่าทางประวัติศาสตร์เหล่านี้ควรได้รับการรวบรวมพร้อมจัดเก็บอย่างถูกต้อง และเหมาะสม ด้วยเหตุนี้วิทยานิพนธ์ฉบับนี้จึงเกิดขึ้นด้วยวัตถุประสงค์ประการแรกคือ สำรวจแหล่งข้อมูล และเก็บรวบรวมข้อมูล-เอกสารที่เกี่ยวข้องกับกองกำลังทหารไทย ประการที่สอง จัดทำข้อมูลเหล่านั้นเป็นฐานข้อมูลในการสืบค้นมรดกทางวัฒนธรรม สำหรับเยาวชนคนรุ่นถัดไปเข้าใจ/ซาบซึ้งถึงวีรกรรมความกล้าหาญ ความอุตสาหะมุ่งมั่นของกองกำลังทหารไทย ที่ไปร่วมรบ ในสงครามเกาหลีการดำเนินการตามวัตถุประสงค์ดังกล่าว สามารถสร้างเนื้อหาเชิงวัฒนธรรมได้หลายรูปแบบ เพียงทำให้เอกสารเหล่านี้เป็น ‘ทรัพยากร’ ดังนั้นผู้วิจัยจึงเริ่มจัดทำสารานุกรมออนไลน์วิกิพิเดียในหัวข้อเรื่องเดียวกันคือ <การเข้าร่วมของทหารไทยในสงครามเกาหลี>เพื่อให้เอกสารเหล่านี้เป็นทรัพยากรและเพื่อประมวลและจัดเก็บข้อมูลให้เกิดประโยชน์สูงสุดในระหว่างการศึกษาและเก็บข้อมูลการวิจัยพบว่าข้อมูลต่างๆจัดเก็บกระจายอยู่หลายที่ในประเทศไทยและอยู่ในภาวะเสี่ยงต่อการสูญหายเป็นอย่างมาก เนื่องจากการจัดเก็บที่ขาดระบบระเบียบ รวมไปถึงขาดการเอาใจใส่และไม่ตระหนักในคุณค่าของข้อมูลดังกล่าวเท่าที่ควรนอกจากนี้ยังมีข้อน่าวิตกอีกประการคือประจักษ์พยานอันทรงคุณค่าสำคัญทางประวัติศาสตร์ซึ่ง ได้แก่ทหารที่เข้าร่วมรบในสงครามเกาหลีนั้นเข้าสู่วัยชรา ขณะที่ประสบการณ์อันทรงคุณค่าของท่านเหล่านี้กลับไม่ได้ถูกจดบันทึกไว้อย่างเหมาะสมและไม่เป็นระบบเท่าที่ควรจากสถานการณ์ที่ได้พบระหว่างการศึกษาและเก็บข้อมูลทำให้ผู้วิจัยตระหนักว่าถึงเวลาที่ข้อมูลอันทรงคุณค่าเหล่านี้จำเป็นต้องได้รับการจัดเก็บอย่างเป็นระบบ ถูกต้อง และเหมาะสมรวมทั้งควรที่จะต้องสามารถสืบค้นข้อมูลย้อนหลังที่สะดวกยิ่งขึ้นด้วย การสร้างสารานุกรมออนไลน์วิกิพิเดียจึงเป็นทางเลือกที่เหมาะสมสำหรับการเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะและเปิดกว้างแก่ผู้ที่สนใจสามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างเสรีและเสมอภาค รวมถึงง่ายต่อการเข้าถึงสืบค้น ข้อมูลย้อนหลัง นอกจากนี้สารานุกรมออนไลน์ยังมีข้อดี คือหากมีการค้นพบหลักฐานหรือข้อมูลเพิ่มเติมสามารถดำเนินการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงข้อมูลในหัวเรื่องสงครามเกาหลีได้ตามการร้องขอขององค์การสหประชาชาติ ในช่วงสงครามเกาหลี รัฐบาลไทยในนามประเทศไทยได้ส่งกองทัพเรือ กองทัพอากาศ ทีมแพทย์ กองกำลังทหาร เข้าร่วมในสงครามเกาหลี ดังนั้นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสงครามเกาหลีจึงกระจายอยู่ในองค์กรและหน่วยงานต่างๆทั้งในกองทัพบกกองทัพอากาศ กองทัพเรือหน่วยงานที่ผู้วิจัยได้เข้าสำรวจจริงคือกรมยุทธศึกษาทหารเรือกองประวัติศาสตร์,กรมสารบรรณทหารอากาศ,พิพิธภัณฑ์ทหารผ่านศึกเกาหลี ซึ่งจากการศึกษาและลงพื้นที่เก็บข้อมูลพบว่าการเก็บข้อมูลของ กองประวัติศาสตร์ กรมยุทธศึกษาทหารเรือนั้นเก็บข้อมูลไว้ในสภาพดีที่สุด ง่ายต่อการสืบค้นข้อมูล ดังนั้น ผู้วิจัยจึงมุ่งเน้นศึกษาข้อมูลในส่วนของกองทัพเรือสำหรับข้อมูลส่วนใหญ่ของพิพิธภัณฑ์ทหารผ่านศึกสงครามเกาหลีที่ตั้งอยู่ในกรมทหารราบที่ 21 ค่ายนวมินทราชินี จังหวัดชลบุรี ประกอบไปด้วยภาพถ่ายในอดีตและข้าวข้องเครื่องใช้ของทหารมากกว่า ข้อมูลเชิงเอกสารนอกจากนั้นในระหว่างที่ผู้วิจัยดำเนินการ “โครงการบันทึกสัมภาษณ์ทหารไทยที่เข้าร่วมสงครามเกาหลี” ซึ่งโครงการเพิ่มเติมจากพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ร่วมสมัยแห่งชาติแห่งสาธารณรัฐเกาหลี ผู้วิจัยดำเนินการเก็บข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์ทหารผ่านศึกในสงครามเกาหลี รวม 4 นายพร้อมทั้งดำเนินการบันทึกเสียงการสัมภาษณ์ทหารผ่านศึกในสงครามเกาหลีทั้ง 4 นายไว้ด้วยในฐานะผู้ริเริ่มดำเนินการจัดทำสารานุกรมออนไลน์วิกิพิเดีย เรื่องการเข้าร่วมรบของทหารไทยในสงครามเกาหลี ซึ่งประกอบไปด้วยเนื้อหา ดังนี้ คือ ①วิกิเล่าเรื่อง(Wiki Storytelling) ②การนำเที่ยวสถานที่สำคัญที่เกี่ยวข้องกับสงครามเกาหลี ในรูปแบบสามมิติ(3D) ผ่านการรับชมด้วยประสบการณ์ VRในส่วนแรก วิกิเล่าเรื่อง(Wiki Storytelling)ได้พูดถึง สงครามที่เนินเขาพอร์คช็อปในเดือนมกราคม ปี พ.ศ. 2495 ซึ่งกองกำลังทหารไทยได้เข้าร่วมสู้รบอย่างหาญกล้า รวมถึงเรื่องราวของทหารผู้กล้า พลเอกเชวง ยังเจริญ ที่เข้าร่วมรบในสงครามเกาหลีที่เคยรวบรวมเป็นเอกสารการสัมภาษณ์สำหรับส่วนภาพสามมิติ(3D)นั้นจะแสดงเสมือนภาพจริงให้เห็นข้อมูลสถานที่เก็บเอกสาร ทางประวัติศาสตร์ของการเข้าร่วมสงครามเกาหลีของทหารไทยได้อย่างชัดเจนไม่ต่างจากการเข้าชมในสถานที่จริง เช่น หอจดหมายเหตุแห่งชาติ,อนุสรณ์สถาน,กรมสารบรรณทหารอากาศ,กองประวัติศาสตร์ กรมยุทธศาสตร์ทหารเรือ ,หมู่บ้านทหารผ่านศึกสงครามเกาหลีในประเทศไทย และ พิพิธภัณฑ์ทหารผ่านศึกสงครามเกาหลีอย่างไรก็ดี การเก็บข้อมูลการเก็บข้อมูลในประเทศไทยไม่ว่าจะเป็นทหารอากาศหรือทหารเรือ ในสงครามเกาหลีนั้น ผู้วิจัยยังรู้สึกถึงการมีข้อจำกัดอยู่บางประการ ระบบที่ไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าถึงข้อมูลทั้งหมด เช่น กรณีเอกสารของทหารอากาศ ผู้วิจัยได้อาสาสมัครจัดเรียงหัวข้อของเอกสารด้วยตนเอง ซึ่งในจุดนี้ผู้วิจัยตระหนักถึงความจำเป็นในการร่วมมือกันระหว่างหน่วยงานรัฐบาลของประเทศเกาหลี เช่น พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ร่วมสมัยแห่งชาติสาธารณรัฐเกาหลี กับหน่วยงานรัฐบาลของไทยในการตรวจสอบเอกสารและการจัดเรียงเอกสารเหล่านี้ สารานุกรมออนไลน์วิกิพิเดียในหัวเรื่อง การเข้าร่วมรบของทหารไทยในสงครามเกาหลีที่ผู้วิจัยจัดทำขึ้นเป็นภาษาเกาหลี ยังจำเป็นต้องจัดทำเป็นภาษาไทยอีกด้วย เหมือนกับในหัวข้อของ หนังสือเรื่อง 『หุ้นส่วนชั่วนิรันดรไทยและเกาหลีใต้–ประวัติการรบของทหารไทยในสงครามเกาหลี』ได้ถูกตีพิมพ์ขึ้นโดยสถาบันประวัติศาสตร์ ภายใต้กำกับการดูแลของสถาบันประวัติศาสตร์ทางการทหารและในปี พ.ศ.2561 ยังเป็นปีครบรอบ 60 ปี ของการเจริญสัมพันธไมตรีระหว่างไทยและสาธารรัฐเกาหลี เพื่อเพื่อรำลึกถึงความสัมพันธไมตรีอันดีงามในระยะเวลายาวนานระหว่างสหราชอาณาจักรไทย และสาธารณรัฐเกาหลีจึงจำเป็นต้องสร้างเนื้อหาเชิงวัฒนธรรมที่เชื่อมต่อและพัฒนาความสัมพันธ์ทั้งสองประเทศอย่างต่อเนื่องผู้วิจัยหวังเป็นอย่างยิ่งว่าข้อมูลที่เต็มไปด้วยคุณค่าทางประวัติศาสตร์จะสะท้อนให้เห็นความสัมพันธ์อันแน่นแฟ้นระหว่างสองประเทศที่มีมายาวนานกว่าการเจริญสัมพันธไมตรีอย่างเป็นทางการ ถึง 8 ปี พร้อมทั้งจะได้รับโอกาสนำสิ่งเหล่านี้ไปการพัฒนาให้เป็นแหล่งข้อมูลอันทรงคุณค่าและสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้สืบไป 연구자는 2014년 대한민국 역사박물관의 연구용역인 “태국 소재 한국현대사 아카이브 자료 조사”로 태국군의 한국전 참전 자료조사에 참여하면서, 태국군의 한국전쟁 참전 역사기록이 제대로 정비되고 또 활용되어야 한다는 생각을 갖게 되었다. 이를 위해 연구자는 먼저, 태국 내 어떤 기관에 어떤 자료가 있는지가 조사되어야 한다고 생각했다. 즉, 태국군의 한국전 참전사 자료의 수집과 정리인 바, 이것이 이 연구의 첫째 목적이다. 다음으로 후세대가 태국군의 용맹함에 대해 배우고 칭송할 수 있기 위해서는 이들 자료가 ‘자원화’ 되어야 한다고 생각했다. 자료의 자원화가 되어야만 이를 활용한 다양한 문화콘텐츠가 제작될 수 있기 때문이다. 이에 연구자는 자원화의 한 방안으로 누구나 참여할 수 있는 공유 플랫폼으로 기능할 수 있는 <태국군의 한국전 참전 위키백과> 구축을 시작했는데, 이것이 이 연구의 두 번째 목적이다. 연구자는 태국 내 태국군의 한국전 참전 자료에 대한 조사와 연구를 진행하면서 관련 자료의 일부의 보존 실태가 열악해 손실의 위험성이 크고 자료의 내용뿐만 아니라 존재유무에 대한 관심마저 없는 상태가 지속되고 있음을 확인했다. 또한 참전 용사에 대한 기록이 제대로 이루어지지 않아 살아있는 역사인 그들이 고령으로 시간이 얼마 남지 않은 것이 우려되었다. 즉, 태국군의 한국전 참전 역사기록의 수집과 보존, 나아가 활용을 위해 태국군의 한국전 참전 자료의 아카이빙이 필요함을 인식했다. 아울러 아카이빙의 한 방법으로 위키백과로 제작하는 것을 고려했다. 위키콘텐츠인 위키백과는 정보의 개방성과 공유성으로 인해 관심을 가진 사람이면 누구나 참여할 수 있는 공유 플랫폼이기 때문이다. 따라서 새로운 정보와 자료가 발굴될 때마다 하나씩 만들어 언제든지 기존의 한국전쟁 위키백과에 끼어 넣을 수 있으며 기존의 다른 정보들과도 쉽게 연결시키는 것이 가능하다. 바로 이 점이 위키백과 아카이빙 방법이다. 태국 정부는 유엔의 요청에 따라 한국전쟁에 육군을 비롯하여 해군과 공군 그리고 의료지원대까지 파병했다. 이로써 한국전 참전기록도 태국의 국가기록원 격인 태국기록보관소를 비롯하여 육군, 해군, 공군 등 여러 기관에 산재되어 있다. 본 연구자가 실제로 조사할 수 있었던 기관은 공군 공문서국 군사역사박물관과 해군교육부 해군사자료관 그리고 한국전참전기념관이었다. 조사한 자료 보관소 중에 해군교육부의 해군사자료관이 보관 상태 및 자료 찾기가 가장 수월했다. 때문에 본 연구자는 해군 관련 주요 자료를 구체적으로 소개했으며, 해당 자료의 성격을 파악할 수 있었다. 촌부리 국왕의 왕비 근위 보병 21연대 내에 위치한 한국전참전기념관은 태국 내 한국전 참전 관련 대표기관으로 문서가 아니라 유물과 사진자료가 중심이었다. 또한 연구자는 대한민국 역사박물관의 추가 사업으로 “한국전쟁 참전 태국 군인 구술채록사업”을 수행하면서 얻은 참전용사 4인의 구술자료도 수집했다. 연구자는 태국군의 한국전 참전 위키백과 구축의 시작으로써 우선 목차 구성 외에, ①위키 스토리텔링과 ②한국전 참전 관련 기관 둘러보기(3D VR콘텐츠)를 제시했다. 먼저, 위키 스토리텔링의 주제로는 태국군의 용맹을 떨친 1952년 1월의 포크찹(Porkchop) 고지 전투와 구술자료로 수집한 참전용사 중의 한 분인 차웽 양짜른 육군 대장 이야기이다. 3D영상콘텐츠 제작은 태국기록보존소, 국가기념관, 태국공군박물관 공군사자료관, 태국해군교육부 해군사자료관, 태국한국전쟁참전용사마을과 촌부리 한국전쟁기념관 등인데, 이를 통해 태국 내 한국전 참전 기록들을 보관하고 있는 장소와 기관들을 생동감 있게 볼 수 있으며 해당 장소나 전시물들을 관람하고 있는 듯이 여겨진다. 본 연구자가 조사한 태국군의 한국전 참전자료들은 공군과 해군에 대한 자료라는 한계를 갖고 있다. 자료 자체를 접근할 수 없었기도 했지만, 자료를 쉽게 열람할 수 있는 제도 자체가 되어 있지 않기 때문이다. 공군자료의 경우는, 연구자가 자원봉사로 직접 목록을 작성하기도 했는데, 대한민국 역사박물관 등 한국정부기관이 태국의 관련기관과의 협력 속에 자료조사 및 정리 작업이 필요한 시점이다. 본 연구자가 시작한 태국군의 한국전 참전 위키백과는 현재 한국어로 만들어졌으나, 태국어로도 만들어져야 한다. 2018년은 태국과 한국의 수교 60주년이다. 한국군사편찬연구소가 출간한 저서, 『영원한 동반자, 한국과 태국-태국군 6.25전쟁 참전사-』의 제목처럼 양국 관계가 지속적으로 발전하기 위해서는 양국을 잇는 다양한 주제의 스토리가 문화콘텐츠로 만들어져야 한다. 양국의 수교보다 8년이나 더 오래 전 양국이 피로 맺어진 역사기록들이 보다 적극적으로 자원화되고 활용되었으면 하는 바람이다.

      연관 검색어 추천

      이 검색어로 많이 본 자료

      활용도 높은 자료

      해외이동버튼